กิจกรรม 28 มกราคม 2554



ความเร่ง คือ อัตราการเปลี่ยน ความเร็ว
ความเร่ง หน่วย เมตรต่อ วินาที2( m/s2)
a = ความเร่ง



คำตอบข้อนี้คือ 1.


อัตราเร็ว คือการเปลี่ยนแปลง ระยะทาง ต่อเวลา
อัตราเร็วเฉลี่ย หน่วย เมตร/วินาที(m/s)
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ (m) ตามแนวเคลื่อนที่จริง 
 t = เวลาในการเคลื่อนที่ (s)
คำตอบข้อนี้คือ. 3



คำตอบข้อนี้คือ. 4


การเคลื่อนที่แบบวงกลม
เป็นการเคลื่อนที่โดยมีแรงกระทำเข้าสู่ศูนย์กลางของวง กลม และจะเกิดความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง ความเร็วจะมีค่า ไม่คงที่ เพราะมีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ โดยความ เร็ว ณ ตำแหน่งใดจะมีทิศสัมผัสกับวงกลม ณ ตำแหน่งนั้น

คำตอบข้อนี้คือ. 2                      


คำตอบข้อนี้คือ. 2



การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง
ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตามแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นปริมาณสเกลาร์

อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา อัตราเร็วแบ่งได้ 2 ชนิด คือ
1) อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คืออัตราเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ อัตราเร็วที่กำลังผ่าน
จุดใดจุดหนึ่ง
2) อัตราเร็วเฉลี่ย คือค่าเฉลี่ยของอัตราเร็วตลอดเส้นทางการเคลื่อนที่

การกระจัด คือ การบอกตำแหน่งใหม่เทียบกับตำแหน่งเดิม โดยบอกว่าตำแหน่งใหม่ห่างจากตำแหน่ง เดิมเท่าไร และมีทิศทางไปทางไหน

ความเร็ว คือ การกระจัดในหนึ่งหน่วยเวลา
1) ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง คือความเร็ว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ ความเร็วที่กำลังผ่าน
จุดใดจุดหนึ่ง
2) ความเร็วเฉลี่ย คือค่าเฉลี่ยของความเร็วตลอดเส้นทางการเคลื่อนที่

ความเร่ง คือ ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งวินาที
ความเร่งขณะใดขณะหนึ่ง คือความเร่ง ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือ ความเร่งที่กำลังผ่าน
จุดใดจุดหนึ่ง
ความเร่งเฉลี่ย คือค่าเฉลี่ยของความเร่งตลอดเส้นทางการเคลื่อนที่

จากนิยามสามารถสรุปเป็นสูตรได้ 3 สูตร คือ
1) v = u + at
2) s = ut + (1/2)at2
3) v2 = u2 + 2as
คำตอบข้อนี้คือ. 4


การเคลื่อนที่และอัตราเร็วแสง
- เมื่อแสงเคลื่อนที่ในตัวกลางชนิดเดียวกัน แนวการเคลื่อนที่ของแสงจะเป็นเส้นตรง ในกรณีที่แสงเคลื่อนที่ผ่านเข้าใกล้วัตถุที่มีมวลมาก เช่น ดวงอาทิตย์ แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์ทำให้แนวทางการเคลื่อนที่ของแสงเป็นเส้นโค้งได้
คำตอบข้อนี้คือ. 3 

สนามแม่เหล็ก นั้นอาจเกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้า หรือในทางกลศาสตร์ควอนตัมนั้น การสปิน(การหมุนรอบตัวเอง) ของอนุภาคต่างๆ ก็ทำให้เกิดสนามแม่เหล็กเช่นกัน ซึ่งสนามแม่เหล็กที่เกิดจากการ สปิน เป็นที่มาของสนามแม่เหล็กของแม่เหล็กถาวรต่างๆ
สนามแม่เหล็กคือปริมาณที่บ่งบอกแรงกระทำบนประจุที่กำลังเคลื่อนที่ สนามแม่เหล็กเป็นสนามเวกเตอร์และทิศของสนามแม่เหล็ก ณ ตำแน่งใดๆ คือทิศที่เข็มของเข็มทิศวางตัวอย่างสมดุล
เรามักจะเขียนแทนสนามแม่เหล็กด้วยสัญลักษณ์ \mathbf{B}\ เดิมทีแล้ว สัญลักษณ์  \mathbf{B} \ นั้นถูกเรียกว่าความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กหรือความเหนี่ยวนำแม่เหล็ก ในขณะที่  \mathbf{H} = \mathbf{B} / \mu \ ถูกเรียกว่า สนามแม่เหล็ก (หรือ ความแรงของสนามแม่เหล็ก) และคำเรียกนี้ก็ยังใช้กันติดปากในการแยกปริมาณทั้งสองนี้ เมื่อเราพิจารณาความตอบสนองต่อแม่เหล็กของวัสดุชนิดต่างๆ. แต่ในกรณีทั่วไปแล้ว สองปริมาณนี้ไม่มีความแตกต่างกันมากนัก และเรามักใช้คำแทนปริมาณทั้งสองชนิดว่าสนามแม่เหล็ก
ในระบบหน่วย SI  \mathbf{B} \ และ  \mathbf{H} \ นั้นมีหน่วยเป็นเทสลา (T) และ แอมแปร์/เมตร (A/m) หรือในระบบหน่วย cgs หน่วยของทั้งสองคือ เกาส์ (G) และ oersted (Oe)

คำตอบข้อนี้คือ 4.



คำตอบข้อนี้คือ. 4


อนุภาคแอลฟา (เขียนแทนด้วยอักษรกรีก แอลฟา α) คืออนุภาคที่ประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัวและนิวตรอน 2 ตัว เหมือนกับนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม (He) จึงสามารถเขียนสัญลักษณ์ได้อีกอย่างหนึ่งเป็น He^{2+}\,\! หรือ {}^4_2He^{2+} อนุภาคแอลฟาหนึ่งอนุภาคมีมวล 6.644656×10−27 กิโลกรัม หรือเทียบเท่ากับพลังงาน 3.72738 จิกะอิเล็กตรอนโวลต์ (GeV) มีประจุเป็น +2e โดยที่ e คือความจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอนซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.602176462×10−19 คูลอมบ์
อนุภาคแอลฟามักเกิดจากการสลายของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี เช่นยูเรเนียม (U) หรือเรเดียม (Ra) ด้วยกระบวนการที่รู้จักกันในชื่อการสลายให้อนุภาคแอลฟา (alpha decay) เมื่ออนุภาคแอลฟาถูกปลดปล่อยออกจากนิวเคลียส มวลอะตอมของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงประมาณ 4.0015 u เนื่องจากการสูญเสียทั้งโปรตอนและนิวตรอน และเลขอะตอมจะลดลง 2 ทำให้อะตอมกลายเป็นธาตุใหม่ ดังตัวอย่างการสลายให้อนุภาคแอลฟาของยูเรเนียม จะได้ธาตุใหม่เป็นทอเรียม (Th)


อนุภาคบีตา หรือ รังสีบีตา (อังกฤษ: Beta particle : b) คือรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีประจุเป็น -1 และมวลเป็น 0 (ประมาณ 1/2000 เท่าของโปรตอน) ซึ่งแสดงว่าบีตามีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน มีความเร็วเท่ากับแสง สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของบีตาคือ β รังสีบีตามีอำนาจทะลุทะลวงปานกลาง ไม่สามารถทะลุผ่านอะลูมิเนียมหรือพลาสติก รังสีบีตาแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ β+ เรียกว่า โพซิตรอน (positron) มีประจุไฟฟ้า +1 และ β- เรียกว่า เนกาตรอน (negatron) มีประจุไฟฟ้า -1 ธาตุกัมมันตรังสีส่วนมากจะปล่อย β- ออกมา ดังนั้นเมื่อกล่าวถึงรังสีบีตามักจะหมายถึง β- เสมอ

รังสีแกมมา (อังกฤษ: gamma ray) คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่มีช่วงความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ (X-ray) ที่มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วง 10-13 ถึง 10-17 หรือก็คือคลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 10-13 นั่นเอง การที่ความยาวคลื่นสั้นนั้น ย่อมหมายถึงความถี่ที่สูง และพลังงานที่สูงตามไปด้วย ดังนั้นรังสีแกมมาถือเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงที่สุดในบรรดาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่เหลือทั้งหมด

คำตอบข้อนี้คือ. 3

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น